2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ภาพสะท้อนวัฒนธรรมทางภาษาในมหาเวสสันดรชาดกฉบับภาษาไทยและภาษาเขมร  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 13 กรกฎาคม 2560 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรมวิจัย ครั้งที่ 3 เศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศิลปกรรมศาสตร์ 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 13 กรกฎาคม 2560 
     ถึง 14 กรกฎาคม 2560 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 706-715 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทความนี้มุ่งวิเคราะห์วัฒนธรรมประเภทภาษาที่ปรากฏในมหาเวสสันดรภาษาไทยและภาษาเขมร เนื่องจากการใช้ภาาษเป็นภาพสะท้อนสำคัญของแต่ละสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาเวสสันดรชาดก ซึ่งเป็นวรรณกรรมพระพุทธศาสนาที่พบทั้งในประเทศไทยและประเทศกัมพูชา แต่ละฉบับมีความแตกต่างกันเพราะผู้แต่งสามารถเพิ่มเติมหรือลดทอนเนื้อความบางส่วนจากพระไตรปิฎกให้เข้ากับบริบทของสังคมแต่ละประเทศ ดังนั้น การใช้ภาษาของผู้แต่งตลอดจนมุมมองความคิดที่ผ่านภาาษย่อมแสดงให้เห็นถึงความเหมือนและความต่างของสองประเทศที่มีความสัมพันธ์กันมาช้านานได้ จากการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมทางภาษาในมหาเวสสันดรชาดกฉบับภาษาไทยและภาษาเขมรมีทั้งสิ้น 2 ประเภท ได้แก่ 1) การชมโฉม และ 2) การใช้ความเปรียบ บางประเภทมีภาพสะท้อนเดียวกันและบางประเภทก็มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม เช่น วิถีชีวิตและการถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดของคนในสังคม ระบบความคิดดั้งเดิม และอิทธิพลของบุคคลในสังคมแต่ละสังคม  
ผู้เขียน
577220026-7 นาย พงษ์กรณ์ วีรพิพรรธน์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0