ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
คุณลักษณะของเอนไซม์ย่อยโปรตีนจากทางเดินอาหารในปลานิล (Oreochromis niloticus)
|
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
27 กุมภาพันธ์ 2558 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
งานประชุมวิชาการประมง ครั้งที่ 9 เพื่อความมั่นคงด้านการประมงและทรัพยากรทางน้ำ |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ |
สถานที่จัดประชุม |
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
จังหวัด/รัฐ |
เชียงใหม่ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
26 กุมภาพันธ์ 2558 |
ถึง |
28 กุมภาพันธ์ 2558 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2558 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
88 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสม (ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง และอุณหภูมิ) ต่อการเกิดกิจกรรมของเอนไซม์โปรติเนสจากการสกัดเอนไซม์จากอวัยวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการย่อยโปรตีนในอาหาร ได้แก่ ตับ, กระเพาะอาหาร, ลำไส้ส่วนต้น และลำไส้ส่วนปลายของปลานิล (Oreochromis niloticus) ที่มีขนาดแตกต่างกัน 2 กลุ่ม ได้แก่ ปลานิลขนาดเล็ก (กลุ่มที่ 1) และขนาดใหญ่ (กลุ่มที่ 2) น้ำหนักตัวเท่ากับ 8.34 และ 54.12 กรัมต่อตัว ตามลำดับ ผลการศึกษาสภาวะที่เหมาะสม พบว่า กิจกรรมเอนไซม์โปรติเนสในอวัยวะต่าง ๆ ของปลาทั้ง 2 กลุ่ม มีกิจกรรมเอนไซม์เพิ่มขึ้นที่สภาวะเป็นด่างในช่วง 9-12 และอุณหภูมิที่เหมาะสมที่ 45 ซ อย่างไรก็ตาม กิจกรรมของเอนไซม์ในกระเพาะอาหารของปลาขนาดเล็กมีมากเมื่อค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 2-3 ผลการศึกษาอวัยวะที่มีการสร้างเอนไซม์โปรติเนส พบว่า ลำไส้มีค่ากิจกรรมของเอนไซม์โปรติเนสสูงที่สุด ในขณะที่ตับมีค่ากิจกรรมของเอนไซม์ต่ำ ข้อมูลที่ได้จะเป็นความรู้พื้นฐานในการศึกษาประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนในหลอดทดลองของเอนไซม์จากปลานิลต่อไป
|
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
ไม่มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Abstract |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ใช้สำหรับสำเร็จการศึกษา |
ไม่เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|